วันพฤหัสบดีที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2566

เทอร์โมคับเปิล (Thermocouple )

เทอร์โมคับเปิล Thermocouple เทอร์โมคัปเปิลใช้วัดอะไร เทอร์โมคัปเปิลใช้ทําอะไร เทอร์โมคัปเปิลหลักการทํางาน เทอร์โมคัปเปิล ราคา เทอร์โมคัปเปิลคุณสมบัติ เทอร์โมคัปเปิลคืออะไร เทอร์โมคัปเปิลข้อดีข้อเสีย


เทอร์โมคับเบิล และอาร์ทีดีต่างกันอย่างไร?
เทอร์โมคับเปิล คือโลหะ 2 ชนิดต่างกันที่นำมาเชื่อมปลายเข้าด้วยกันที่ด้านหนึ่งซึ่งเป็นด้านที่ใช้วัดอุณหภูมิส่วนอีกด้านหนึ่งต่อเข้ากับอุปกรณ์ใช้งานเช่น เครื่องควบคุมอุณหภูมิ, เครื่องบันทึกอุณหภูมิเป็นต้น เทอร์โมคับเปิลถูกแบ่งออกเป็น Type ต่าง ๆ ตามการจับคู่ของโลหะที่แตกต่างกัน ทำให้มีคุณสมบัติในการใช้งานที่หลากหลายตามความเหมาะสมของงานแต่ละประเภท

อาร์ทีดี คือหัววัดอุณหภูมิที่ใช้หลักการของค่าความต้านทานที่จะมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ที่นิยมใช้มากที่สุด คือ อาร์ทีดีที่ทำจากแพลตินัม (Platinum) ที่มีค่า 100Ω ที่ 0 ๐C หรือ Pt100 นั่นเอง อาร์ทีดี (Pt100) จะมีคุณสมบัติดีกว่าเทอร์มอคัปเปิลเกือบทุกด้าน แต่อย่างไรก็ตาม อาร์ทีดี (Pt100) ก็มีราคาสูงกว่าเทอร์มอคัปเปิลพอสมควร
ตารางเปรียบเทียบคุณสมบัติเทอร์โมคัปเปิล และ อาร์ทีดี (Pt100)


หัววัด เทอร์โมคับเปิล อาร์ทีดี (Pt100)
สัญลักษณ์
เทอร์โมคับเปิล Thermocouple
เทอร์โมคับเปิล Thermocouple
ลักษณะกราฟเอาต์พุต
เทอร์โมคับเปิล Thermocouple
เทอร์โมคับเปิล Thermocouple
ข้อดี - ไม่ต้องใช้ไฟเลี้ยง
- ง่าย
- ไม่แพง
- ใช้งานได้หลากหลาย
- ช่วงการวัดอุณหภูมิกว้าง - เสถียรภาพสูง
- เที่ยงตรงที่สุด
- มีความเป็นลิเนียร์มากกว่าเทอร์โมคัปเปิล
ข้อเสีย - ไม่มีลักษณะเส้นตรง
- แรงดันต่ำ
- ไม่ค่อยเสถียร
- ความไวต่ำสุด - แพง
- ต้องการไฟเลี้ยง
- มีความร้อนเกิดขึ้นที่ตัวมันเอง
ช่วงการวัดมากที่สุด -270 ถึง 1820 ๐C -250 ถึง 600 ๐C
Repeatability 1.1 ๐C ถึง 8.25 ๐C 0.0275 ๐C ถึง 0.055 ๐C
เสถียรภาพการใช้งานที่
อาจเปลี่ยนแปลงได้ 0.55 ๐C ถึง 1.1 ๐C ต่อปี น้อยกว่า 0.10% ภายใน 5 ปี
ความไวในการวัด 10-50 µV / ๐C 0.2 ถึง 10Ω / ๐C
Interchangability ± 0.75% ± 0.5%


เทอร์โมคับเปิลมีกี่ชนิดและอะไรบ้าง? Class ของเทอร์โมคัปเปิล (Type of Themocouple)
เทอร์โมคับเปิล (T/C หรือ Thermocouple) มีหลายชนิด แต่ละชนิด เช่น Type K, Type J, Type R ฯลฯ ทำจากลวดโลหะคนละประเภท ต่างกันจึงมีช่วงวัดอุณหภูมิที่แตกต่างกันด้วย เทอร์โมคัปเปิล แบ่งออกเป็น 8 ชนิดประเภท โดยเรียกว่า type ตัวอย่างเช่น เทอร์โมคับเปิล type k, เทอร์โมคับเปิล type J, type N เป็นต้น ฯ ดังในตารางแสดงค่าความต่างศักดิ์ของเทอร์โมคับเปิล ดังต่อไปนี้
ตารางแสดงชนิดของโลหะ มาตรฐาน ช่วงอุณหภูมิ และค่าความคลาดเคลื่อนของเทอร์โมคับเปิลแบบต่างๆชนิดชนิดลวดเทอร์โมคัปเปิลค่าความผิดพลาดตามมาตราฐานของclassช่วงวัดอุณหภูมิค่าความผิดพลาดK NiCr - NiAI (NiCr - Ni)
นิกเกิลโครเมียม - นิกเกิลอลูมิเนียม
(นิกเกิลโครเนียม-นิกเกิล)

NiCrSi - NiSi
นิกเกิลโครเมียมซิลิกอน-นิกเกิล ซิลิกอน IEC 60584 Part 2 1 -40 ... + 1000 °c ± 1.5 °c
2 -40 ... + 1200 °c ± 2.5 °c
N ASTM E230 Special 0 ... + 1260 °c ± 1.1 °c
Standard 0 ... + 1260 °c ± 2.2 °c
J Fe - CuNi

ไอรอน - คอปเปอร์นิกเกิล IEC 60584 Part 2 1 -40 ... + 750 °c ± 1.5 °c
2 -40 ... + 750 °c ± 2.5 °c
ASTM E230 Special -40 ... + 760 °c ± 1.1 °c
Standard -40 ... + 760 °c ± 2.2 °c
E NiCr - CuNi

นิกเกิลโครเมียม - คอปเปอร์นิกเกิล IEC 60584 Part 2 1 -40 ... + 800 °c ± 1.5 °c
2 -40 ... + 900 °c ± 2.5 °c
ASTM E230 Special -40 ... + 870 °c ± 1.0 °c
Standard -40 ... + 870 °c ± 1.7 °c
T Cu - CuNi

คอปเปอร์ - คอปเปอร์นิกเกิล IEC 60584 Part 2 1 -40 ... + 350 °c ± 0.5 °c
2 -40 ... + 350 °c ± 1.0 °c
3 -200 ...+ 40 °c ± 1.0 °c
ASTM E230 Special 0 ...+ 370 °c ± 0.5 °c
Standard -200 .... 0 °c ± 1.0 °c
Standard 0 ...+ 370 °c ± 1.0 °c
R Pt13% Rh - Pt
แพลทินัม 13% โรเดียม - แพลทินัม

Pt10% Rh - Pt
แพลทินัม 10% โรเดียม - แพลทินัม IEC 60584 Part 2 1 0 ... + 1600 °c ± 1.0 °c
2 0 ... + 1600 °c ± 1.5 °c
S ASTM E230 Special 0 ... + 1480 °c ± 0.6 °c
Standard 0 ... + 1480 °c ± 1.5 °c
B Pt30% Rh - Pt6% Rh
แพลทินัม 30%โรเดียม - แพลทินัม 6%โรเดียม IEC 60584 Part 2 2 600 ... +1700 °c ± 0.0025 • |t|
3 600 ... +1700 °c ± 4.0 °c
ASTM E230 Special - -
Standard 870 ... +1700 °c ± 0.5 %

หมายเหตุ เทอร์โมคับเปิล เทอร์โมคัปเปิลหมายถึง เทอร์โมคัปเปิลวัดอุณหภูมิ เทอร์โมคัปเปิลหลักการทํางาน เทอร์โมคับเปิลมีกี่ชนิด Thermocouple 

มาตรฐาน ASTM E230 จะแบ่ง Class โดยการเรียกว่า Class Special กับ Class Standard
มาตรฐาน IEC 60584 part 2 แบ่งเป็น Class 1 และ Class 2 ซึ่งเป็นมาตรฐานที่นิยมใช้กันมาก
เทอร์โมคับเปิลที่ใช้ในอุตสาหกรรมทั่วไปเป็น Class 2 หรือ Class Standard
ตารางแสดงค่าความต่างศักย์ของเทอร์โมคับเปิลชนิดต่างๆอุณหภูมิ (°c)ชนิดของเทอร์โมคัปเปิล
Type KType JType NType EType TType SType RType B-200 -5.603
-180 -5.261
-160 -4.865
-140 -4.419
-120 -3.923
-100 -3.379
-80 -2.788
-60 -2.153
-40 -1.527 -1.961 -1.023 -2.255 -1.475
-20 -0.777 -0.995 -0.518 -1.152 -0.757
0 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000
20 0.798 1.019 0.525 1.192 0.790 0.113 0.111
40 1.612 2.059 1.065 2.420 1.612 0.235 0.232
60 2.463 3.116 1.619 3.685 2.467 0.365 0.363
80 3.267 4.187 2.189 4.985 3.358 0.502 0.501
100 4.096 5.269 2.774 6.319 4.279 0.646 0.647
150 6.138 8.010 4.302 9.789 6.704 1.029 1.041
200 8.138 10.779 5.913 13.421 9.288 1.441 1.469
250 10.153 13.555 7.597 17.181 12.013 1.874 1.923
300 12.209 16.327 9.341 21.036 14.862 2.323 2.401
350 14.293 19.090 11.136 24.964 17.819 2.786 2.896
370 15.133 20.194 11.867 26.552 19.030 2.974 30.99


รูป กราฟแสดงค่ามัลติโวลท์ กับค่าของอุณหภูมิของเทอร์โมคับเปิลชนิดต่างๆ กัน

Class ของเทอร์โมคับเปิล (Class of thermocouple)
เหตุผล หรือความจำเป็นในการแบ่ง เทอร์โมคับเปิลออกเป็น class หลักๆ แล้วมีวัตถุประสงค์ให้เกิดความเหมาะสม คุ้มค่าในการเลือกใช้เทอร์โมคับเปิลกับงานที่มีความแตกต่างกัน คือ งานที่ต้องการความละเอียดแม่นยำในการวัดค่าสูง กับงานที่ต้องการความละเอียดไม่สูงมากนัก ซึ่งเทอร์โมคับเปิล มี 2 Class ตามมาตรฐาน IEC 60584 นั่นก็คือClass 1 มีค่าความคลาดเคลื่อนต่ำกว่า
Class 2 มีค่าความคลาดเคลื่อนสูงกว่า


กราฟแสดงค่าความคลาดเคลื่อนของเทอร์โมคับเปิลชนิด K Class 1 และ Class 2

จากกราฟด้านบนจะพบว่าความคลาดเคลื่อนที่อุณหภูมิต่างๆ ของเทอร์โมคับเปิลชนิด K Class 1 จะมีค่าน้อยกว่าเทอร์โมคัปเปิลชนิด K Class 2 ครึ่งหนึ่ง โดยอุณหภูมิสูงยิ่งส่งผลให้มีค่าความคลาดเคลื่อนมากขึ้นตามลำดับ ดังนั้นในอุตสาหกรรมทั่วๆไป จะนิยมใช้เทอร์โมคับเปิล Class 2 เนื่องด้วยราคาที่ถูกกว่า แต่ถ้าเป็นอุตสาหกรรมที่ต้องใช้ความละเอียดสูง และอุณหภูมิสูง จะนิยมใช้เทอร์โมคับเปิล Class 1

ไม่มีความคิดเห็น :

แสดงความคิดเห็น

บทความที่ได้รับความนิยม ,ฮีตเตอร์

โพสต์แนะนำ

ตู้ฟักไข่ (incubators egg)

ตู้ฟักไข่ เครื่องฟักไข่ incubators-egg  ตู้ฟักไข่ราคา ตู้ฟักไข่ทําเองไม่ถึง200บาท ตู้ฟักไข่ทําเอง600 ตู้ฟักไข่12ฟอง ตู้ฟักไข่มือสองราคาถูก ต...

คลังบทความของบล็อก ,ฮีตเตอร์

http://heaterable.blogspot.com/ 2013-05-16T07:27:00+00:00 monthly http://heaterable.blogspot.com/2013/03/heater-for-industry.html 2013-05-16T07:27:00+00:00 monthly http://heaterable.blogspot.com/2013_03_01_archive.html 2013-05-16T07:27:00+00:00 monthly http://heaterable.blogspot.com/feeds/7988870761352713826/comments/default 2013-03-22T13:42:07+00:00 monthly