ฮีตเตอร์อินฟราเรด ( Infrared Heater ) ,ฮีตเตอร์อินฟราเรดคืออะไร ,ฮีตเตอร์อินฟราเรดมีคุณสมบัติและลักษณะมีอะไรบ้าง ,ประโยชน์ของฮีตเตอร์อินฟราเรดและการนำไปใช้งาน ,คำนวณฮีตเตอร์อินฟราเรด, จำหน่ายฮีตเตอร์อินฟราเรด,ฮีตเตอร์อินฟราเรดให้ความร้อนกี่องศา,การใช้งานฮีตเตอร์อินฟราเรดเซรามิค,การใช้งานฮีตเตอร์อินฟราเรดควอทซ์,การใช้งานฮีตเตอร์อินฟราเรด2000w,การใช้งานฮีตเตอร์อินฟราเรด1000w,การใช้งานฮีตเตอร์อินฟราเรดแบบหลอด,ฮีตเตอร์อินฟราเรดที่มีแสงสีส้มคืออะไร,ฮีตเตอร์อินฟราเรดที่มีความถี่สูงคืออะไร,ร้านขายฮีตเตอร์อินฟราเรดใกล้ฉัน,ฮีตเตอร์อินฟราเรดสำหรับตู้อบสี,หลอดฮีตเตอร์อินฟราเรดราคา,ฮีตเตอร์อินฟราเรดราคา,infrared heater คือ

ฮีตเตอร์อินฟราเรด ( Infrared Heater ) ,ฮีตเตอร์อินฟราเรดคืออะไร ,ฮีตเตอร์อินฟราเรดมีคุณสมบัติและลักษณะมีอะไรบ้าง ,ประโยชน์ของฮีตเตอร์อินฟราเรดและการนำไปใช้งาน ,คำนวณฮีตเตอร์อินฟราเรด, จำหน่ายฮีตเตอร์อินฟราเรด,ฮีตเตอร์อินฟราเรดให้ความร้อนกี่องศา,การใช้งานฮีตเตอร์อินฟราเรดเซรามิค,การใช้งานฮีตเตอร์อินฟราเรดควอทซ์,การใช้งานฮีตเตอร์อินฟราเรด2000w,การใช้งานฮีตเตอร์อินฟราเรด1000w,การใช้งานฮีตเตอร์อินฟราเรดแบบหลอด,ฮีตเตอร์อินฟราเรดที่มีแสงสีส้มคืออะไร,ฮีตเตอร์อินฟราเรดที่มีความถี่สูงคืออะไร,ร้านขายฮีตเตอร์อินฟราเรดใกล้ฉัน,ฮีตเตอร์อินฟราเรดสำหรับตู้อบสี,หลอดฮีตเตอร์อินฟราเรดราคา,ฮีตเตอร์อินฟราเรดราคา
ELECTRIC INFRARED HEATING , INFRARED HEATER คือ


ฮีตเตอร์อินฟราเรด  infrared heater รังสีอินฟราเรด เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นยาวกว่าแสงที่มองเห็นได้ โดยอยู่ในช่วง 0.76 μm-1000 μm ความยาวคลื่นในช่วงนี้จะแบ่งย่อยลงไปอีกตามตารางที่ 1 แต่ในอุตสาหกรรมจะใช้ในช่วงตั้งแต่ความยาวคลื่นสั้นจนถึงประมาณ 25 μm



ฮีตเตอร์อินฟราเรด
ช่วงความถี่ของรังสี 

ตารางที่ 1 ช่วงความยาวคลื่นของ รังสีอินฟราเรด ฮีตเตอร์อินฟราเรด

ฮีตเตอร์อินฟราเรด รังสี อินฟราเรด สั้น 0.76μm - 2μm 

ฮีตเตอร์อินฟราเรด รังสี อินฟราเรด กลาง 2μm - 4μm 

ฮีตเตอร์อินฟราเรด รังสี อินฟราเรด ยาว 4μm - 1nm 


ฮีตเตอร์อินฟราเรด

ฮีตเตอร์อินฟราเรด



ฮีตเตอร์อินฟราเรด รังสีอินฟราเรด infrared แทบจะไม่ทำให้เกิดปฏิกิริยา Photochemistry เมื่อถูกดูดกลืนโดยวัตถุ แต่พลังงานของรังสีจะกลายเป็นความร้อนเกือบทั้งหมด ดังนั้น ในแง่ของการถ่ายเทความร้อนจึงถือว่าเป็นปรากฏการณ์แผ่รังสีความร้อน ฮีตเตอร์อินฟราเรด


การให้ความร้อนด้วย รังสีอินฟราเรด ฮีตเตอร์อินฟราเรด infrared

ฮีตเตอร์อินฟราเรด เป็นการใช้ประโยชน์จากความร้อนที่เกิดขึ้นจากการดูดกลืนพลังงาน (Dielectric Absorption) ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงอินฟราเรดที่ตกกระทบวัตถุ ไดอิเล็กทริก ในช่วงความถี่ดังกล่าว จะเกิดการดูดกลืนพลังงานในการ Resonance ระหว่างความถี่ของ คลื่นตกกระทบกับการสั่นเฉพาะตัวของอะตอมที่ประกอบเป็นวัตถุ ดังนั้น วัตถุแต่ละชนิดจึงมีสเปกตรัมการดูดกลืนแสงเฉพาะตัวต่อความถี่ (ความยาวคลื่น) หนึ่งๆ

เนื่องจาก รังสีอินฟราเรด 
ฮีตเตอร์อินฟราเรด infrared มีช่วงความถี่เชิงแสงที่มีค่าสูง พลังงานของคลื่นตกกระทบเกือบทั้งหมดจึงถูกดูดกลืนโดยชั้นพื้นผิว และลดลงอย่างรวดเร็วเมื่อลึกเข้าไปในเนื้อวัตถุ แนวโน้มนี้จะปรากฏเด่นชัดในกรณีของรังสีอินฟราเรดใกล้ซึ่งมีความยาวคลื่นสั้น และความหนาแน่นพลังงานก็จะเพิ่มขึ้นด้วย ฮีตเตอร์อินฟราเรด


ฮีตเตอร์อินฟราเรด high frequency infrared heater  จากคำอธิบายข้างต้น สามารถสรุปคุณสมบัติของการให้ความร้อนด้วย รังสีอินฟราเรด ได้ดังต่อไปนี้ ฮีตเตอร์อินฟราเรด

1) ฮีตเตอร์อินฟราเรด พลังงานความร้อนจะถ่ายเทให้วัตถุโดยตรงด้วยการแผ่รังสีโดยไม่ต้องใช้ตัวกลางถ่ายเทความร้อน จึงมีความร้อนสูญเสียต่ำ และสามารถให้ความร้อนอย่างรวดเร็ว ในทางกลับกัน จะมีจุดอ่อนที่ให้ความร้อนส่วนที่เป็นเงาของวัตถุได้ยาก ฮีตเตอร์อินฟราเรด


2) 
ฮีตเตอร์อินฟราเรด infrared ความจุความร้อนของแหล่งกำเนิดรังสีและอุปกรณ์ให้ความร้อนมีค่าน้อยและ เป็นการให้ความร้อนด้วยการแผ่รังสี ดังนั้น จึงมีการตอบสนองต่อการควบคุมอุณหภูมิที่ดี สามารถควบคุมอุณหภูมิได้สะดวก เหมาะสมกับการควบคุมอัตโนมัติ ฮีตเตอร์อินฟราเรด


3) 
ฮีตเตอร์อินฟราเรด รังสีอินฟราเรด มีช่วงความถี่เชิงแสงที่มีค่าสูง ดังนั้น จึงเหมาะกับการให้ความร้อนบริเวณพื้นผิวของวัตถุไดอิเล็กทริก ฮีตเตอร์อินฟราเรด


4) 
ฮีตเตอร์อินฟราเรด วัตถุชนิดต่างๆ จะมีคุณลักษณะเฉพาะตัวในการดูดกลืนรังสีอินฟราเรดที่ตกกระทบ ดังนั้น จึงต้องเลือกใช้แหล่งกำเนิดรังสีที่มีคุณลักษณะเหมาะกับคุณลักษณะดังกล่าวของวัตถุเพื่อให้เกิดประสิทธิผลดี ฮีตเตอร์ อินฟราเรด


แหล่งกำเนิด รังสีอินฟราเรด ฮีตเตอร์อินฟราเรด ที่ใช้กันมากได้แก่ หลอดรังสีอินฟราเรด ฮีตเตอร์อินฟราเรด และ ฮีตเตอร์ แบบ Quartz Tube หลอดรังสีอินฟราเรด มีอุณหภูมิสีของไส้หลอดประมาณ 2000-2500K ซึ่งมีค่าต่ำกว่า หลอดสำหรับให้แสงสว่างทั่วไป ช่วงความยาวคลื่นของรังสีที่แผ่ออกมามีค่าประมาณ 0.8-2.5 μm จึงใช้เป็นแหล่งกำเนิด รังสีอินฟราเรด radiation heater ใกล้เป็นหลัก (รูปที่ 1) โดยทั่วไปแก้วและควอตซ์จะไม่ยอมให้คลื่นที่มีความยาวคลื่นตั้งแต่ 4 μm ขึ้นไปทะลุผ่าน ดังนั้น กรณีที่ต้องการความยาวคลื่นยาวกว่านั้น จะใช้ Heating Element พวก Nichrome หรือแทนทาลัมในสภาพเปลือย ในกรณีนี้อุณหภูมิสีจะมีค่าประมาณ 700-1000K ช่วงความยาวคลื่นมีค่าประมาณ 2-10 μm ฮีตเตอร์อินฟราเรด



ฮีตเตอร์อินฟราเรด


ฮีตเตอร์อินฟราเรด




ฮีตเตอร์อินฟราเรด (Infrared Heater) 

Heaterable Website

ฮีตเตอร์อินฟราเรด และโคม

ลักษณะ ฮีตเตอร์อินฟราเรด

ฮีตเตอร์อินฟราเรด Infrared Heater Feature เป็นฮีตเตอร์ลักษณะเป็นแท่งตรง มีทั้งแบบหลอดสีขาว(แก้วควอต) และสีดำ(เซรามิก)สามารถติดตั้งได้ทั้งแนวตั้งและแนวนอน มีขนาดเล็ก ให้ความร้อนไม่มีเปลวไฟ มีความปลอดภัยสูง ขั้วไฟฟ้าอาจเป็นแบบเซรามิก หรือสแตนเลสก็ได้ ความโตของหลอดเป็นมาตราฐานที่ 10,14,18,20 มิลลิเมตร ความยาวของหลอดทั่วไปไม่ควรเกิน 2,500 มิลลิเมตร ฮีตเตอร์อินฟราเรด

คุณสมบัติ ฮีตเตอร์อินฟราเรด

เป็น ฮีตเตอร์อินฟราเรด Infrared Heater characteristics ที่ทำงานแบบแผ่รังสีความร้อน ลักษณะเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ทำให้ชิ้นงานที่ได้รับเกิดโมเลกุลสั่น ใช้ได้ผลดีมากกับวัตถุที่มีขนาดโมเลกุลค่อนข้างใหญ่ มีทั้งคลื่นความถี่แบบ ยาว กลาง และสั้น สามารถให้ความร้อนกับชิ้นงานที่มีความหนา แต่ไม่ควรมีความมันวาว สามารถประหยัดค่าพลังงานไฟฟ้าได้ถึง 30% เมื่อเทียบกับฮีตเตอร์แบบอื่น และจะประหยัดค่าพลังงานไฟฟ้า เพิ่มอีกเมื่อใช้งานร่วมกับโคมสะท้อนแสงอินฟราเรด ฮีตเตอร์อินฟราเรด

ฮีตเตอร์อินฟราเรด infrared heater เป็นการส่งผ่านความร้อนแบบแผ่รังสี ( เหมือนกับที่ดวงอาทิตย์ส่งความร้อนมายังโลก ) จึงมีประสิทธิภาพสูง ความสูญเสียต่ำ ประหยัดไฟได้ 30-50%


- ฮีตเตอร์อินฟราเรด สามารถให้ความร้อนวัตถุได้ถึงเนื้อใน จึงทำให้ประหยัดเวลาได้ 1-10 เท่า ( การให้ความร้อนแบบการพา และการนำความร้อนจะทำให้วัตถุร้อนเฉพาะที่ผิว แล้วค่อยๆ ซึมเข้าไปเนื้อในจึงใช้เวลามาก
- ฮีตเตอร์อินฟราเรด มีขนาดเล็กกว่าฮีตเตอร์แบบทั่วๆ ไป ทำให้ประหยัดเนื้อที่
- ฮีตเตอร์อินฟราเรด การติดตั้ง และการถอดเปลี่ยนเพื่อซ่อมบำรุงง่าย
- ฮีตเตอร์อินฟราเรด มีความปลอดภัยสูง เนื่องจากไม่มีเปลวไฟ ตัวเรือนมีความเป็นฉนวนสูง ไฟไม่รั่ว
- ฮีตเตอร์อินฟราเรด ให้รังสีช่วง 3-10 µm. ซึ่งเป็นช่วงที่วัสดุเกือบทุกชนิดสามารถดูดซับรังสีได้ดี

   การใช้งานฮีตเตอร์อินฟราเรด การประยุกต์ใช้งานฮีตเตอร์อินฟราเรด 

การใช้งาน ฮีตเตอร์อินฟราเรด Infrared heater ควรระบุให้ชัดเจนถึงแบบ ว่าจะติดตั้งแบบใด แนวตั้งหรือแนวนอน หลอดอินฟราเรดมีความเปราะแตกง่าย ควรคำนวนปริมาณความร้อนให้เหมาะสม อีกทั้งแรงดันไฟฟ้าที่ใช้งาน และพยายามติดตั้งให้อยู่ใกล้ชิ้นงานมากที่สุด อาจออกแบบตู้ครอบเพื่อความสะดวกในการใช้งานก็ได้การใช้งานอาจใช้ร่วมกับตัวควบคุมอุณหภูมิ หรือใช้ร่วมกับอุปกรณ์ที่ใช้ตั้งเวลาในการทำงานก็ได้ ตัวอย่างการอบ เช่น อบกาว อบวานิส เซรามิก อบผิว อาหารสัตว์ อบพลาสติก อบสีสกีนเสื้อ อบแห้ง อบไล่ความชื้น อบเพื่อควบคุมอุณหภูมิ อบหม้อแปลง อบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ฮีตเตอร์อินฟราเรด


- ฮีตเตอร์อินฟราเรด ใช้ในการอบแห้งต่างๆ เช่น สี, แลกเกอร์, กาว, เมล็ดพันธุ์พืช, อีพอกซี
- ฮีตเตอร์อินฟราเรด ใช้กับอุตสาหกรรมพลาสติก อบพลาสติกให้อ่อนตัวก่อนนำไปเข้าเครื่องเป่า
- ฮีตเตอร์อินฟราเรด ใช้กับอุตสาหกรรมอาหาร ขนมปัง เบเกอรี่
- ฮีตเตอร์อินฟราเรด ใช้ในวงการแพทย์ เช่น การอบฆ่าเชื้อ, ห้องอบเด็กทารก
- ฮีตเตอร์อินฟราเรด ใช้กับอุตสาหกรรมเคลือบผิวต่างๆ เช่น เคลือบสี, ผิว, เซรามิค, มีรามีน


ประโยชน์การนำไปใช้งาน ฮีตเตอร์อินฟราเรด 


ฮีตเตอร์อินฟราเรด เป็นตัวกำเนิดแสงอินฟราเรดซึ่งเป็นแสงที่มีคลื่นยาวที่ไม่สมารถมองเห็นได้ด้วยตามนุษย์ซึ่งรังษีคลื่นความยาวนี้จะทำให้โมเลกุลของวัตถุที่ได้รับรังสีนี้เข้าไปเกิดการสั่น ซึ่งก่อให้เกิดความร้อนขึ้น ซึ่งหลักการนี้จะมีประสิทธิภาพมากเมื่อนำไปประยุกต์ใช้กับวัตถุที่มีโครงสร้างโมเลกุลขนาดใหญ่ หรือวัตถุที่มีโมเลกุลเกาะเรียงกันเป็นแถวยาว เช่น สี ,กาว ,อาหาร ,พลาสติก ,แลกเกอร์


( สนใจติดต่อ รับทำฮีตเตอร์อินฟราเรดคลิกที่นี้ Mahachok )

ฮีตเตอร์อินฟราเรด


คุณลักษณะเด่นของ ฮีตเตอร์อินฟราเรด

ฮีตเตอร์อินฟราเรด เป็นการส่งผ่านความร้อนแบบแผ่รังสี (แบบเดียวกับที่ดวงอาทิตย์ส่งความร้อนมายังโลก) จึงมีประสิทธิภาพสูง ความสูญเสียต่ำ (ประหยัดไฟ 30-50%)

• ฮีตเตอร์อินฟราเรด สามารถให้ความร้อนกับวัตถุได้ถึงเนื้อในจึงทำให้ประหยัดเวลาได้ 1 ถึง 10 เท่า (การให้ความร้อนแบบการนำและการพาจะทำให้วัตถุร้อนเฉพาะที่ผิว แล้วค่อย ๆ ซึมเข้าไปเนื้อในจึงใช้เวลามาก)

• ฮีตเตอร์อินฟราเรด ให้ความปลอดภัยสูง เพราะไม่มีเปลวไฟและไฟไม่รั่ว

• ฮีตเตอร์อินฟราเรด ขนาดเล็กกว่าการให้ความร้อนแบบทั่ว ๆ ไป ทำให้ประหยัดเนื้อที่


ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการทำความร้อน


การให้ความร้อนจะมีอยู่ 3 วิธีหลัก ๆ คือ การพาความร้อน ,การนำความร้อน ,และการแผ่รังสีความร้อน
1.การพาความร้อน

คือ การให้ความร้อนแก่ตัวกลาง (โดยมากเป็นของไหล เช่น อากาศหรือน้ำ) จากนั้นก็พาตัวกลางที่ถูกทำให้ร้อนเคลื่อนที่ไปสู่วัตถุเป้าหมาย ข้อเสียของวิธีนี้คือ ความร้อนของวัตถุเป้าหมายจะขึ้นช้า (ซึ่งหมายถึงจะต้องพึ่งระบบหมุนเวียน ตัวกลาง เช่น พัดลมหรือใบพัดกวนของเหลว ในกรณีที่ตัวกลางเป็นของเหลว) และจะมีความสูญเสียความร้อนมาก อย่างไรก็ดีวิธีนี้ก็ยังคงเป็นที่นิยมที่สุด เนื่องจากเป็นระบบที่ง่ายแก่ความเข้าใจ สามารถหาแหล่งความร้อนได้ง่าย เช่น น้ำมัน ,ก๊าซ ,หรือฮีตเตอร์ทั่ว ๆ ไป ฮีตเตอร์อินฟราเรด

2.การนำความร้อน

จะคล้ายกับการพาความร้อน แต่จะใช้ตัวกลางที่มีการนำความร้อนได้ดี ซึ่งมักจะเป็นโลหะความร้อนจะถูกนำจากปลายข้างหนึ่งของตัวกลางไปสู่ปลายอีกข้างโดยที่ตัวกลางเองจะไม่เคลื่อนที่ (การพาความร้อนนั้นตัวกลางจะเคลื่อนที่จากแหล่งความร้อนไปสู่วัตถุเป้าหมาย

3.การแผ่รังสีความร้อน

จะเป็นการแผ่รังสีที่มีคลื่นยาวไปยังวัตถุเป้าหมาย ซึ่งแสงคลื่นยาวจะทำให้โมเลกุลของวัตถุเป้าหมายสั่น ซึ่งส่งผลให้เกิดความร้อนขึ้น วิธีการนี้จะเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุดถ้าเลือกวัตถุเป้าหมายที่เหมาะสม เนื่องจากพลังงานความร้อนประเภทนี้จะอยู่ในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วแสงมายังวัตถุ (แบบเดียวกับการที่ดวงอาทิตย์ส่งความร้อน มายังโลก)


( สนใจติดต่อ รับทำ ฮีตเตอร์อินฟราเรด คลิกที่นี้ Heaterable Website )

ฮีตเตอร์อินฟราเรด



ข้อควรระวังการใช้งาน ฮีตเตอร์อินฟราเรด

- การให้ความร้อนแบบ อินฟราเรด ฮีตเตอร์อินฟราเรด สิ่งที่สำคัญที่สุดคือ ตัววัตถุจะต้องดูดซับรังสีได้ดีดังนั้น วัตถุบางชนิดที่มีผิวมันวาวหรือมีคุณสมบัติในการสะท้อนแสงได้ดีจะไม่เหมาะกับการให้ความร้อนด้วยวิธีนี้ 

- ถ้าต้องการควบคุมอุณหภูมิ พยายามวางหัววัดอุณหภูมิ(เทอร์โมคับเบิล)ให้ใกล้วัตถุมากที่สุดหรือใช้หัววัดอุณหภูมิแบบอินฟราเรด 

- ในการติดตั้งฮีตเตอร์อินฟราเรด ควรติดตั้งคู่กับโคมสะท้อนแสง เพราะนอกจากช่วยสะท้อนความร้อนได้ดีแล้วยังช่วยป้องกันไม่ให้หลอดแตกหักอีกด้วย 

- ฮีตเตอร์อินฟราเรดสีดำ วัสดุทำจากเซรามิก ฮีตเตอร์อินฟราเรดสีขาว วัสดุทำจากแก้ว ควรเลือกใช้งานให้ถูกต้องเหมาะสม


การสั่งซื้อ ฮีตเตอร์อินฟราเรด


ฮีตเตอร์อินฟราเรด ควรดูลักษณะการใช้งานของลูกค้าเป็นหลัก ว่าชิ้นงานที่ต้องการให้ความร้อนเป็นชิ้นงานลักษณะไหน พื้นที่ที่ต้องการกำหนดในการใช้งานมีขนาดเท่าไร อุณหภูมิที่ต้องการ ระยะเวลาที่ต้องการ ลักษณะการควบคุมในเชิงไฟฟ้า หรือทางกล ขนาดของตัวตัดกระแสไฟฟ้าที่มีอยู่ บุคคลที่ใช้ในการควบคุมว่ามีความรู้มากน้อยแค่ไหน อาจมีการร่างแบบที่ต้องการมาคร่าวๆด้วย เมื่อได้ข้อมูลดังกล่าวแล้ว

จึงจะสามารถกำหนด ฮีตเตอร์อินฟราเรด Selecting a heater

แรงดันไฟฟ้า ,ขนาดกำลังวัตต์ทางไฟฟ้า ,ขนาดความโตของหลอดฮีตเตอร์ ,ขนาดความยาวของหลอดฮีตเตอร์,ขนาดของตู้ครอบฮีตเตอร์,ลักษณะแบบของหลอดฮีตเตอร์,ลักษณะชุดควบคุมการทำงานของฮีตเตอร์,ขนาดของอุปกรณ์ไฟฟ้า ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

ฮีตเตอร์อินฟราเรด
ขนาดฮีตเตอร์อินฟราเรด
  1. ฮีตเตอร์ ชนิด อินฟราเรด (INFRARED HEATER) ขาว หรือ ดำ
  2. A = ใช้เฉพาะแนวนอน, B = ใช้ได้ทั้งแนวนอน และ แนวตั้ง, Q = แบบแท่งแก้ว
  3. เส้นผ่าศูนย์กลางของท่อ (14 มม, 17 มม,20 มม)
  4. ความยาวท่อ (mm) ไม่รวมขั้วเซรามิก
  5. แรงดันไฟ (V) (110 V, 220V, 380V)
  6. กำลังวัตต์ (W)
  7. ความต้านทาน ถ้าทราบ

รูปตัวอย่างฮีตเตอร์ 

Sample Infrared heater

  ฮีตเตอร์อินฟราเรดฮีตเตอร์อินฟราเรด

ฮีตเตอร์อินฟราเรด

ฮีตเตอร์อินฟราเรด
ฮีตเตอร์อินฟราเรด
เตาอินฟราเรด

เตาอินฟราเรด



สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ฮีตเตอร์อินฟราเรด
Mahachok ผลิต ออกแบบ ฮีตเตอร์อุตสาหกรรม 
ฮีตเตอร์อินฟราเรด



สาระน่ารู้ ฮีตเตอร์ความร้อน,ฮีตเตอร์,ลวดความร้อน



1 ความคิดเห็น :

บทความที่ได้รับความนิยม ,ฮีตเตอร์

โพสต์แนะนำ

ตู้ฟักไข่ (incubators egg)

ตู้ฟักไข่ เครื่องฟักไข่ incubators-egg  ตู้ฟักไข่ราคา ตู้ฟักไข่ทําเองไม่ถึง200บาท ตู้ฟักไข่ทําเอง600 ตู้ฟักไข่12ฟอง ตู้ฟักไข่มือสองราคาถูก ต...

http://heaterable.blogspot.com/ 2013-05-16T07:27:00+00:00 monthly http://heaterable.blogspot.com/2013/03/heater-for-industry.html 2013-05-16T07:27:00+00:00 monthly http://heaterable.blogspot.com/2013_03_01_archive.html 2013-05-16T07:27:00+00:00 monthly http://heaterable.blogspot.com/feeds/7988870761352713826/comments/default 2013-03-22T13:42:07+00:00 monthly